กดแชร์

วันแรงงาน วันแรงงานแห่งชาติการเคลื่อนไหวของสหภาพแรงงาน วันแรงงานวันอะไร

วันแรงงาน

วันแรงงาน เป็นอีกหนึ่งวันสำคัญของผู้ใช้แรงงาน ในทุกปีแรงงานลูกจ้างของหลายประเทศ ให้ความสำคัญกับ วันแรงงานแห่งชาติ วันแรงงาน ภาษาอังกฤษ (Labour Day) เป็นวันที่ระลึกถึงผู้ใช้แรงงาน เป็นวันหยุดประจำปีที่เฉลิมฉลองไปทั่วโลก ซึ่งเป็นวันหยุดนักขัตฤกษ์เพื่อให้ผู้ใช้แรงงานได้หยุดพัก วันแรงงานวันอะไร ในทุกปีรัฐบาลจึงกำหนดให้ วันแรงงานก็จะตรงกับวันที่ 1 พฤษภาคม ซึ่งในประเทศไทยมีแรงงานกว่า 38 ล้านคน เป็นกำลังสำคัญขับเคลื่อนเศรษฐกิจในทุกภาคส่วน

เป็นการยกย่องให้เล็งเห็นถึงความสำคัญของ “แรงงาน” ในการพัฒนาคุณภาพความเป็นอยู่ และสิทธิที่ผู้ใช้แรงงานสมควรที่จะได้รับ การดูแลเอาใจใส่อย่างจริงจังจากรัฐบาล วันแรงงาน ลูกจ้างมีสิทธิ์หยุดงานในวันแรงงานแห่งชาติ ซึ่งเป็นผลมาจากการเคลื่อนไหวของสหภาพแรงงาน เพื่อที่จะฉลองผลงานทางการเศรษฐกิจ และสังคมของผู้ใช้แรงงาน วันแรงงานมีจุดกำเนิด จากการเคลื่อนไหวของสหภาพแรงงาน

คำว่าแรงงานนั้น ตามราชบัณฑิตยสถานหมายถึง คนงาน ผู้ใช้แรงในการทำงาน เช่น การพัฒนาชนบทต้องอาศัยแรงงานจากท้องถิ่น งานก่อสร้างต้องการแรงงานเพิ่ม ประชากรในวัยทํางาน ไม่รวมถึงคนพิการ คนวิกลจริต นักเรียน นักศึกษา แม่บ้านนักบวช ทหาร ผู้ต้องขัง และผู้ประกอบกิจการเพื่อหากําไร เช่น วันแรงงาน แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น ถนนนี้สร้างสำเร็จด้วยแรงงานของชาวบ้าน ความสามารถในการทํางานเพื่อประโยชน์ ในทางเศรษฐกิจกิจการที่คนงาน ทําในการผลิตเศรษฐทรัพย์

วันแรงงาน ประวัติวันแรงงานแห่งชาติ จุดกำเนิดวันแรงงานสากล

โลกที่เข้าสูยุคอุตสาหกรรม ผู้ประกอบการใช้เครื่องจักรควบคู่ กับแรงงานมนุษย์โดยไม่มีสวัสดิการ หรือข้อตกลงที่ชัดเจนระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง จากที่ชนชั้นแรงงานถูกเอารัดเอาเปรียบอย่างเต็มที่และบังคับให้ทำงานถึง 15 ชั่วโมงต่อวันในปีพ.ศ.2429 กรรมกรได้ยืนหยัดเพื่อสิทธิของตนและเริ่มประท้วงอย่างสันติต่อสภาพที่ย่ำแย่ และการปฎิบัติที่ไม่เป็นธรรม จนกระทั่งราวปี พ.ศ. 2432 แรงงานในสหรัฐอเมริกาได้เรียกร้องให้กำหนดชั่วโมงการทำงานสูงสุดวันละ 8 ชั่วโมง

รวมถึงให้ทบทวนสิทธิของแรงงานด้านอื่นตามความเหมาะสม กลายเป็นการชุมนุมที่จัตุรัสเฮย์มาเก็ต จากการปะทะระหว่างแรงงานและตำรวจส่งผลให้มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตทั้งสองฝ่าย ทั่วโลกยกย่องความกล้าหาญของการต่อรองครั้งนั้น วันแรงงานวันอะไร ระหว่างขบวนการแรงงานและรัฐ ด้วยการกำหนดให้วันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปี เป็นวันแรงงานสากล การปะทะกันระหว่างแรงงานกับรัฐเกิดขึ้นในหลาย ๆ ประเทศ เพื่อเจรจาต่อรองให้เกิดการจ้างงานอย่างเป็นธรรม รวมถึงจัดสวัสดิการที่เหมาะสมด้านความปลอดภัยต่อสุขภาพ ของแรงงานขณะทำงาน

ในประเทศยุโรปส่วนมาก ก็กำหนดให้วันที่ 1 พฤษภาคม ให้เป็นวันแรงงานแห่งชาติและเรียกว่า ‘วันกรรมกรสากล’ หรือ ‘วันเมย์เดย์ (May Day)’ ตามที่คณะพรรคสังคมนิยมระหว่างชาติได้กำหนดไว้ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2433 ยกเว้น ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา ที่ถือเอาวันจันทร์แรกของเดือนกันยายนเป็นวันแรงงาน ประวัติวันแรงงานแห่งชาติ ลูกจ้างมีสิทธิ์หยุดงานในวันแรงงานแห่งชาติ

วันแรงงานวันอะไร ชาวยุโรปถือว่าวันเมย์เดย์ เป็นวันเริ่มต้นฤดูกาลเกษตรกรรม ทำพิธีบวงสรวงตามความเชื่อเพื่อขอให้ปลูกพืชผลได้มีผลผลิตที่ดี ส่วนประเทศไทยเราก็มีวันพืชมงคล เป็นวันฤกษ์ดีด้านการเพาะปลูกเกษตรกรรมเช่นกัน ลูกจ้างมีสิทธิ์หยุดงานในวันแรงงานแห่งชาติ

วันเมย์เดย์เป็นวันเริ่มต้นฤดูใหม่ทางเกษตรกรรม ในวันนี้จะพิธีเฉลิมฉลอง ขอให้ปลูกพืชได้ผลดี รวมถึงขอให้ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข การเฉลิมฉลองนี้จะมีการให้ดอกไม้ร้องเพลงและเต้นรำไปรอบ ๆ เสาเมย์โพล (Maypole) เป็นการเต้นรำรอบเสาที่ประดับไปด้วยช่อดอกไม้ และริบบิ้น อีกทั้งทางภาคเหนือของยุโรปก็จะมีการจัดงานรอบกองไฟในวันนี้ด้วย ซึ่งประเพณีนี้ในประเทศอังกฤษก็ยังมีสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันนี้ ลูกจ้างมีสิทธิ์หยุดงานในวันแรงงานแห่งชาติ

วันแรงงาน

วันแรงงาน ประวัติความเป็นมา วันแรงงานในประเทศไทย

ในประเทศไทย เมื่้ออุตสาหกรรมได้ขยายตัวขึ้น ผู้ใช้แรงงานมีปัญหามากขึ้น รวมทั้งแรงงานมีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น จึงทำให้ในปี พุทธศักราช 2475 ประเทศไทยริเริ่มมีการบริหารจัดการแรงงาน เพื่อสร้างรากฐานและส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง กระทั่งวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2499 คณะกรรมการการจัดงานที่ระลึก ได้จัดประชุมขึ้น วันแรงงานวันอะไร พร้อมทั้งมีความเห็นตรงกันว่าควรกำหนดให้วันที่ 1 พฤษภาคมเป็น “วันที่ระลึกแรงงานไทย” ลูกจ้างมีสิทธิ์หยุดงานในวันแรงงานแห่งชาติ

จากนั้นได้มีหนังสือถึงนายกรัฐมนตรีขอให้รับรองวันที่ 1 พฤษภาคม จนเป็นที่มาของ “วันกรรมกรแห่งชาติ” และต่อมาก็ได้เปลี่ยนเป็น “วันแรงงานแห่งชาติ” และในปี พุทธศักราช 2500 ก็ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติกำหนดวิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน ซึ่งได้กำหนดให้ลูกจ้างมีสิทธิ์หยุดงานในวันแรงงานแห่งชาติด้วย
แต่พระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวก็มีอายุเพียงแค่ 18 เดือนก็ถูกยกเลิกไป

โดยมีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 มาแทนที่ และมีการให้อำนาจกระทรวงมหาดไทยออกประกาศกำหนดเรื่องการคุ้มครองแรงงาน และกำหนดวันกรรมกรให้เป็นวันหยุดตามประเพณี แต่เนื่องด้วยสถานการณ์ในขณะนั้นมีการผันแปรจึงมีคำชี้แจงออกมาในแต่ละปี เพื่อเตือนนายจ้างให้ลูกจ้างหยุดงานในวันที่ 1 พฤษภาคม แต่ก็มีการขอร้องไม่ให้มีการเฉลิมฉลองเพื่อความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง วันแรงงานแห่งชาติ

กระทั่งปี พุทธศักราช 2517 ได้เปิดให้มีการฉลองตามสมควร จึงมอบให้กรมแรงงานที่ขณะนั้นสังกัดกระทรวงมหาดไทยจัดงานฉลองวันแรงงานแห่งชาติขึ้นที่สวนลุมพินี โดยมีการทำบุญตักบาตร มีนิทรรศการแสดงความรู้ และกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย ต่อมารัฐบาลเล็งเห็นว่าควรจะมีการยกระดับหน่วยงาน เพื่อให้มีงบประมาณและเจ้าหน้าที่สำหรับการดูแลผู้ใช้แรงงานอย่างพอเพียง ในวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 จึงได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้จัดตั้งกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมขึ้นมา เพื่อให้การบริหารงานมีความก้าวหน้าทัดเทียมนานาประเทศ

วันแรงงาน

ข้อกฎหมายสิทธิแรงงานที่ควรรู้

1.เวลาทำงาน

  • ไม่เกิน 8 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สำหรับงานที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัย ลูกจ้างมีสิทธิ์หยุดงานในวันแรงงานแห่งชาติ

2.เวลาพัก

  • ระหว่างการทำงานปกติ ไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน หลังจากลูกจ้างทำงานมาแล้วไม่เกิน 5 ชั่วโมงติดต่อกัน หรืออาจพักเป็นช่วงๆ ได้ แต่รวมแล้วต้องไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน
  • กรณีให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาต่อจากเวลาทำงานปกติไม่น้อยกว่า 2 ชม. ต้องจัดให้ลูกจ้างพักก่อนเริ่มทำงานล่วงเวลาไม่น้อยกว่า 20 นาที วันแรงงานวันอะไร

3.วันหยุด

  • วันหยุดประจำสัปดาห์ ไม่น้อยกว่า 1 วัน/สัปดาห์ โดยให้มีระยะห่างกันไม่เกิน 6 วัน ซึ่งอาจตกลงกันสะสมและเลื่อนวันหยุดประจำสัปดาห์ไปหยุดเมื่อใดก็ได้ ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ติดต่อกัน
  • วันหยุดตามประเพณี วันแรงงาน ทำ อะไร ไม่น้อยกว่า 13 วัน/ปี รวมวันแรงงานแห่งชาติด้วย โดยพิจารณาจากวันหยุดราชการประจำปี วันหยุดทางศาสนาหรือขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งท้องถิ่น ถ้าวันหยุดตามประเพณีตรงกับวันหยุดประจำสัปดาห์ให้หยุดชดเชยวันหยุดตาม ประเพณีในวันทำงานถัดไป

สำหรับงานในกิจการโรงแรม สถานมหรสพ ร้านขายอาหาร ร้านขายเครื่องดื่ม ฯลฯ อาจตกลงกันหยุดวันอื่นชดเชยวันหยุดตามประเพณี หรือจ่ายค่าทำงานในวันหยุดให้ก็ได้

  • วันหยุดพักผ่อนประจำปี ไม่น้อยกว่า 6 วันทำงาน/ปี สำหรับลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันมาครบ 1 ปี อาจตกลงกันล่วงหน้าสะสมและเลื่อนวันหยุดพักผ่อนประจำปี ไปรวมหยุดในปีต่อ ๆ ไปได้ วันแรงงานวันอะไร

4.การทำงานล่วงเวลา หรือทำงานในวันหยุด

  • อาจให้ลูกจ้างทำได้ โดยได้รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อนเป็นคราวๆ ไป
  • อาจให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลา และทำงานในวันหยุดได้เท่าที่จำเป็น ถ้าลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไป ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็นงานฉุกเฉิน
  • อาจให้ทำงานในวันหยุด สำหรับกิจการโรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ง ร้านขายอาหาร ร้านขายเครื่องดื่ม สโมสร สมาคม และสถานพยาบาลได้ โดยไม่จำเป็นต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อน วันแรงงาน ลูกจ้างมีสิทธิ์หยุดงานในวันแรงงานแห่งชาติ
  • ชั่วโมงการทำงานล่วงเวลา การทำงานในวันหยุด และการทำงานล่วงเวลาในวันหยุด รวมแล้วต้องไม่เกิน 36 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์

5.วันลา

  • ลาป่วย สามารถลาได้เท่าที่ป่วยจริง
  • ลากิจ สามารถลาเพื่อไปทำกิจธุระอันเป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
  • ลาทำหมัน
  • ลารับราชการทหาร
  • ลาคลอดบุตร สามารถลาเพื่อคลอดบุตรได้ 98 วัน โดยอีก 8 วันที่เพิ่มเข้ามาล่าสุด จากเดิม 90 วันนั้น สามารถนำไปใช้ช่วงก่อนคลอดจนถึงตรวจสุขภาพหลังคลอดได้ โดยใช้สิทธิลาคลอดได้เดือนละ 1 ครั้ง
  • ลาฝึกอบรม ลูกจ้างสามารถลาได้ โดยแจ้งให้นายจ้างทราบไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนลา ทั้งนี้นายจ้างอาจไม่อนุญาตให้ลาหากในปีที่ลาลูกจ้างเคยได้รับอนุญาตให้ลามาแล้วไม่ น้อยกว่า 30วัน หรือ 3 ครั้ง

6.ค่าตอบแทน

  • ค่าจ้าง ให้จ่ายค่าตอบแทนแก่ลูกจ้าง ซึ่งไม่ได้รับค่าจ้างเป็นรายเดือนสำหรับการทำงานที่เกิน 9 ชม.ขึ้นไปไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงหรือต่อหน่วยในวันทำงาน และในอัตราไม่น้อยกว่า 3 เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงหรือต่อหน่วยในวันหยุด
  • ค่าจ้างในวันหยุด
  • ค่าจ้างในวันลา ในวันลาป่วยไม่เกิน 30 วันทำงานต่อปี, ในวันลาเพื่อทำหมัน, ในวันลาเพื่อรับราชการ ไม่เกิน 60 วันต่อปี และในวันลาเพื่อคลอดบุตร ไม่เกิน 45 วันต่อการตั้งครรภ์

7.ค่าชดเชย

ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชย หากนายจ้างเลิกจ้างโดยลูกจ้างไม่มีความผิด ดังนี้

  • ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 120วัน แต่ไม่ครบ 1ปี มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30วัน
  • ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 1ปี แต่ไม่ครบ 3ปี มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน
  • ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 3 ปีแต่ไม่ครบ 6ปี มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180วัน
  • ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 6ปี แต่ไม่ครบ 10ปี มีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยเท่ากับอัตราค่าจ้างสุดท้าย 240วัน
  • ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 10 ปีขึ้นไป มีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน

วันแรงงานหยุดไหม?

วันแรงงานไม่ถือว่าเป็นวันหยุดราชการ ดังนั้นหน่วยงานราชการยังคงเปิดทำงานและให้บริการตามปกติในวันแรงงาน วันแรงงาน ใคร หยุดบ้าง ส่วนที่หยุดจะเป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานเอกชนเท่านั้น ทั้งนี้กรณีนายจ้างไม่อาจหยุดงานได้ วันแรงงาน วันแรงงานวันอะไร ให้นายจ้างตกลงกับลูกจ้างว่าจะให้หยุดชดเชยวันอื่นแทนหรือจะจ่ายค่าทำงานในวันหยุดให้กับลูกจ้างแต่หากนายจ้างไม่ปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย จะมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ลูกจ้างมีสิทธิ์หยุดงานในวันแรงงานแห่งชาติ

 

Sources : มหาวิทยาลัยศรีปทุม และ กระทรวงแรงงาน

อ่านต่อ>>>สถิติหวยออกวันอังคาร

ดูบอล

บทความเพิ่มเติม